สวัสดีครับผม ผมนายสุริยา แท่งทองหลาง

welcome to my blog

วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555

ซอฟแวร์  (software)
ซอบแวร์  คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าสั่ง คอม ให้ทำอะไรเป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้ครอบ ถ้วนตามต้องการ  เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่สามารถจัดเก็บ  และนำมาใช่งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่น  ซีดี  แฟล็ชไดร์ฟ  เป็นต้น

หน้าที่ซอบแวร์ 

    ทำหน้าที่เชื่อมระหว่างผู้ใช่แครื่องคอมพิวเตอร์และเคื่องคอม  ถ้าไม่มีซอบแวร์ก็ทำอารัยไม่ได้เลยแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท

ประเภทของซอบแวร์

         

1.ซอบแวร์ระบบ(systen  software) 
       ซอบแวร์ เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาโดยเพื่อใช้จัดการกับระบบหน้าที่การ ทำงานคือดำเนินงานพื้นฐานต่างของระบบคอมเช่น  รับข้อมูลจากแผลแป้น   แล้วแปลคาวมหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจนำข้อมูลแสดงผลหน้าจอภาพ  นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton"s Utitlities ก็นับเป็นโปรแกรมระบบด้วยเช่นกัน
     
       หน้าที่ของซอบแวร์
1.ใช้ในการจัดการหน่อยรับเข้าและส่งออก
2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ  เพื่อนำข้อมูลแผ่นบรรทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก
3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช่กับเครื่องคอม เพื่อสามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น
      
     ประเภทของซอบแวร์ระบบ
1.ระบบปภิฏิบัติการ (Operating  System:os)
ชนิดของระบบปฏิบัติการ  จำแนกออกได้เป็น3ชนิดงานสามารถจำแนกออกได้ 3 ชนิด
      1.ประเภทใช้งานเดียว  (Single-tasking) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สั่งให้คอมทำงานได้อย่างเดียว
      2.ปะเภทใช้หลายงาน (Multi-tasking)  สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกันใช้ซอบแวร์ได้หลายชนิด
      3. ประเภทใช้งานหลายคน  (Multi-User)
2.ตัวแปลภาษา

                                2.ตัวแปลภาษา


                    การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟแวร์ในภายหลังได้ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องตัวแปลภาษา  ซึ่งภาษาระดับสูงได่แก่ ภาษาBasic,Pascal,C และ ภาษาโลโก เป็นต้นนอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran,Cocol,และภาษาอาร์พีจี

          ซอฟแวร์ประยุกต์(Applicafion Software)
2.2ซอฟแวร์ประยุกต์(Applicafion Software)
ซอฟแวร์ที่ใช้ทำงานร่มกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี ตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

        ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น2ประเภทคือ
1. ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ(Proprietary Software)
2. ซอฟแวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป(Packaged Software) มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ(Customized Packฟge) และ โปรแกรมมาตรฐาน(Standard Package)

              ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกได้เป็น3กลุ่มใหญ่ๆดังนี้
1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ(Business)
2.กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย(Graphic and Multimedia)
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ(Web and Communications)



กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
                        ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
    โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
    โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CorelDRAW, Adobe Photoshop
    โปรแกรมตัดต่อวิดิโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere, Pinnacle Studio DV                          โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware, Toolbook Instructor, Adobe Director
    โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
    โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Instant Messaging) อาทิ MSN Messenger/ Windows Messenger, ICQ
     โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH, MIRCH ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
       การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะ
เข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษา
คอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษา
คอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการ-
คำนวณทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการ
จัดการข้อมูล
     ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ใน- การติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย ภาษาเครื่อง (Machine Languages)
      เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงาน
        คอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง   
  การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
      ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages)
      เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์ 
    แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์(Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

   ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
     เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้
ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรม
สามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียน
โปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้
เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่ 2 ชนิด ด้วยกัน คือ 
คอมไพเลอร์(Compiler) และ อินเทอร์พรีเตอร์  ((Interpreter)
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็น
ภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จ
แล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรี
เตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง

1 ความคิดเห็น: